Loy Krathong

17 11 2010

It’s Loy Krathong on Sunday and the nation is preparing for the spectacle of hundreds of thousands of krathongs to be launched into rivers, streams, ponds, lakes and any other available body of water in celebration of, and apology to, the mother water.

The provenance of this festival is wrapped up in myth and speculation, so the reading I have chosen today from Thai Wikipedia puts to rest, at least to an extent, some of that speculation.

Check out the key vocab then have a go at the reading. Rollover translations as normal and our experiment with audio continues directly below the reading. Read the full article at Thai Wikipedia here.

To finish I’ve posted a video of the Loy Krathong song. After all, what would any festival be without its own special song. Check out the lyrics that I’ve transliterated and see if you can nail it by Sunday. You’re guaranteed to impress if you can sing along at the pier or river bank.

Key Vocab & Tricky Words
เดิม derm: originally
ประเพณี bprà-pay-nee: tradition
สมัย sà-măi: period/era
รัชสมัย rát-chá-sà-măi: reign
พ่อขุน pôr kŭn: king
ท้าว Thao: an honorific given to important women in the past
ประดิษฐ์ bprà-dìt: to invent/create
พิธีจองเปรียง pí-tee jong bpriang: Brahman rite
ประทีป bprà-têep: lantern
บาน baan: bloom/blossom
หลักฐาน làk tăan: evidence
ตอนต้น dton dtôn: the first part
อ้างอิง âang-ing: with reference to
ภาพจิตรกรรม pâap-jit-dtrà-gam: paintings
การสร้าง gaan sâang: construction
เทศกาล tâyt-sà-gaan: festival
นักท่องเที่ยว nák tông tîeow: tourist
ดังกล่าว dang glàao: aforementioned
ฤดู réu-doo: season
นิยม ní-yom: popular
ประกวด bprà-gùat: competition

The Reading
เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง โดยมีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียนประทีป และนางนพมาศได้นำดอกโคทม ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีป แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลักฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่างๆ ในสมัยรัชกาลที่ 3

ปัจจุบันวันลอยกระทงเป็นเทศกาลที่สำคัญของไทย ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศมาเที่ยวปีละมากๆ ทั้งนี้ในช่วงเวลาดังกล่าวมักจะเป็นช่วงต้นฤดูหนาว และมีอากาศดี

ในวันลอยกระทง ยังนิยมจัดประกวดนางงาม เรียกว่า “นางนพมาศ”

Hit the play button below to hear the excerpt read.
[Audio http://dl.dropbox.com/u/7787581/loy_krathong.mp3 ]

The Loy Krathong Song

Here are the lyrics in Thai and with transcriptions
วัน เพ็ญ เดือน สิบสอง wan pen deuan sìp sŏng
น้ำ ก็ นอง เต็ม ตลิ่ง náam gôr nong dtem dtà-lìng
เรา ทั้ง หลาย ชาย หญิง สนุก กัน จริง วัน ลอย กระทง rao táng lăai chaai yĭng sà-nùk gan jing wan loy grà-tong
ลอย ลอย กระทง, ลอย ลอย กระทง loy loy grà-tong, loy loy grà-tong
ลอย กระทง กัน แล้ว ขอ เชิญ น้อง แก้ว ออก มา รำวง loy grà-tong gan láew kŏr chern nóng gâew òk maa ram wong
รำวง วัน ลอย กระทง, รำวง วัน ลอย กระทง ram wong wan loy grà-tong, ram wong wan loy grà-tong
บุญ จะ ส่ง ให้ เรา สุข ใจ, บุญ จะ ส่ง ให้ เรา สุข ใจ bun jà sòng hâi rao sùk jai, bun jà sòng hâi rao sùk jai

The words translate more or less as follows:
On the full-moon of the twelfth month
The water is overflowing at the riverbanks
All we men and women are really having fun on Loy Krathong day
Loy Loy Krathong, Loy Loy Krathong
After floating the Krathong together, sweetheart please come out to dance
Dancing on Loy Krathong Day, Dancing on Loy Krathong Day
Making merit will make us happy, Making merit will make us happy





Facebook – wanna be my friend?

15 11 2010

If you were plugged into Twitter last Friday you will know that TweetYourselfThai has gone Facebook. In an effort to make getting your twice weekly(ish) dose of Thai reading practice all the simpler we have set up a page to provide links to posts on this website as they appear, and as a repository for useful, fun or quirky things related to learning Thai.

We’d love it if you ‘liked’ us. Follow this link to check it out.

To mark this momentous occasion I have grabbed a reading from the pages of Thai Wikipedia that tells us all about Facebook.  Work through the key vocab and tricky words then give the reading a go.  Roll over translations as usual, and the second of our new audio files directly below the reading.

Key Vocab & Tricky Words
เฟซบุ๊ก fayt-búk: Facebook
เครือข่าย kreua kàai: network
สังคม săng-kom: community/society
ข้อมูล kôr moon: information
ข่าวสาร kàao săan: news
ใช้งาน chái ngaan: use
ฮาร์เวิร์ด haa-wêrt: Harvard
ต่อมา dtòr maa: subsequently
ขยายตัว kà-yăai dtua: expand
สหรัฐอเมริกา sà-hà-rát à-may-rí-gaa: USA
ก่อตั้ง gòr dtâng: established
เคมบริดจ์ kaym-brit: Cambridge
รัฐแมสซาชูเซตส์ rát-tà-mâet-saa-choo-sâyt: massachusetts
แพโลแอลโท pae-lo-ean-to: Palo Alto
รัฐแคลิฟอร์เนีย rát-tà-kae-lí-for-nia: California
ลงทะเบียน long tá-bian: to register
บัญชี ban-chee: account
ความนิยม kwaam ní-yom: popularity
กูเกิล goo-gern: Google
มักจะ mák jà: frequently/often
ทั้งสิ้น táng sîn: entire
ราว raao: approximately

The Reading
เฟซบุ๊ก เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมสำหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้นเฟซบุ๊กเปิดให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวออกไปสำหรับมหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสำหรับผู้ใช้ทั่วไปทุกคนเหมือนในปัจจุบัน

เว็บไซต์เฟซบุ๊กก่อตั้งที่เมือง เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ปัจจุบันมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ แพโลแอลโท รัฐแคลิฟอร์เนีย มีผู้ลงทะเบียนกว่า 500 ล้านบัญชี และปัจจุบันเป็นเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 1 ชนะเวปที่มีความนิยมมากอย่างกูเกิล

ชื่อเฟซบุ๊กนี้มาจากชื่อเรียก “เฟซบุ๊ก” ที่มักจะเป็นหนังสือแจกสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในช่วงเริ่มเรียนปีแรก ซึ่งมีภาพและชื่อของเพื่อนที่เรียนด้วยกันเพื่อไว้สำหรับจดจำชื่อคนอื่น

ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ใช้งาน เฟซบุ๊ก อยู่ทั้งสิ้นราว 5,338,000 บัญชี

Hit the play button below to hear this article read.

[Audio http://dl.dropbox.com/u/7787581/Facebook.mp3 ]

Full Wikipedia article here. And don’t forget to like us on Facebook here.





Poo Dee Angrit – The English Gentleman

10 11 2010

A couple of days ago a journalist friend of mine emailed to say he was writing an article on the various stereotypes assigned to the English, and wanted to know what Thai people think of them.  Beyond some pretty basic stuff that one could pretty much assign to ฟรัง of any variety, I was stumped until I remembered the peculiarity that is the ผู้ดีอังกฤษ poo dee angrit or, loosely, the quintessential English gentleman.

Why the English are singled out for this particular honour is beyond me, but hey we’ll take what we can get.  An old Thai friend of mine who was educated at Rugby says it doesn’t exist, but I have found at least one person in Thai-ber space who thinks it’s worth documenting. I have adapted her post from this website telling us all how to be a ผู้ดี like the อังกฤษ.

Due to popular demand, I’m experimenting with having an audio file of the reading to help with pronunciation and to allow readers to just listen if they want.  The media player with the audio is immediately below the reading.  Let me know how you get on with it.

Key Vocab and Tricky Words
ไม่ว่าจะ mâi wâa jà: whether or not …
ถือว่า tĕu wâa: considered to be
จำเป็น jam bpen: vital
ถอด tòt: remove
ในร่ม nair rôm: indoors
โดยเฉพาะ doi chà-pór: especially
โบสถ์ bòht: church
ปัจจุบัน bpàt-jù-ban: at present
จำนวน jam-nuan: quantity/number
ไม่สุภาพ mâi su-pâap impolite
เช่น chên: for example
ยืนขวางทาง kwaang taang: to block
หลีก lèek: make way for
ใครก็ตาม krai gôr dtaam: whoever
ฝ่ายตรงข้าม/อีกฝ่าย fàai dtrong kâam/èek fàai: opposite party/other party
ส่วน sùan: piece/portion
คำพูดติดปาก kam pôot dtìt bpàak: catchphrase
มารยาท maa-rá-yâat: manners
ไอ ai: cough
จาม jaam: sneeze
การแนะนำ gaan náe-nam: to introduce
ทักทาย ták taai: greet
ถึงแม้ even if: tĕung máe
เอ่ย òie: say
บ่งบอก bòng bòk: indicate
ไม่ว่าจะ mâi wâa jà: regardless
สาธารณะ săa-taa-rá-ná: public
จ้องมอง jông mong: stare
ทำลายความเป็นส่วนตัว tam laai kwaam bpen sùan dtua: invasion of privacy
เรอ rer: burp
ถุย tŭi: spit
หยาบคาย yàap kaai: coarse
ผายลม păai-lom: break wind
อด òt: refrain
สั่งน้ำมูก sàng náam môok: blow one’s nose

How to be an English Gentleman
1. การยืนต่อแถว ในประเทศอังกฤษการเข้าแถวต่อคิว ไม่ว่าจะเป็นการซื้ออาหาร การรอรถบัส หรืออื่นๆ ถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นมาก
2. (เฉพาะผู้ชาย) ถอดหมวกทุกครั้งเมื่อเข้าในร่ม โดยเฉพาะในโบสถ์ที่ต้องถอดหมวกทุกครั้งเมื่อเข้าไป แต่ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีคนจำนวนมากที่ไม่นิยมถอดหมวกเมื่อเข้าไปในที่ร่ม ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ไม่สุภาพ
3. การพูด “Excuse me” เช่น ถ้ามีคนมายืนขวางทางเรา เราต้องพูด Excuse me เพื่อขอให้เค้าช่วยหลีกทาง
4. การจ่ายเงินในสิ่งที่ตัวเองเป็นคนสั่ง เมื่อไปทานข้าวกับใครก็ตาม ถ้าเราเป็นคนสั่งอาหารหรือเครื่องดื่มนั้นให้ฝ่ายตรงข้าม เราต้องจ่ายเงินในส่วนนั้นด้วย
5. การใช้ Please หรือ Thank you เรียกได้ว่าเป็นคำพูดติดปากของคนอังกฤษ ซึ่งหากใครไม่พูดคำนี้เวลาขอร้องและขอบคุณ จะถือว่าไม่มีมารยาท
6. เมื่อต้องการไอหรือจาม ต้องใช้มือปิดปากทุกครั้ง
7. เมื่อได้รับการแนะนำให้รู้จักเพื่อนใหม่ ควรทักทายด้วยการจับมือขวา
8. พูดคำว่า Sorry เช่น เมื่อเดินชนผู้อื่น ถึงแม้จะเป็นความผิดของอีกฝ่าย แต่เราควรจะเอ่ยปากว่าขอโทษก่อน
9. ยิ้ม ยิ้ม ยิ้ม หน้าที่ยิ้มคือหน้าที่บ่งบอกการต้อนรับผู้อื่น
10. เปิดประตูให้อีกฝ่าย ไม่ว่าจะชายหรือหญิง ถ้าใครเดินถึงประตูก่อนคนแรก ต้องเป็นคนเปิดประตูให้อีกฝ่ายด้วย
11. ไม่ทักทายกันด้วยการจูบ จะจูบเฉพาะกับเพื่อนสนิทหรือญาติพี่น้องเท่านั้น
12. ไม่คุยเสียงดังในที่สาธารณะ
13. ไม่จ้องมองคนอื่นในที่สาธารณะ เพราะถือว่าเป็นการทำลายความเป็นส่วนตัว
14. ไม่ถามอายุของผู้หญิง ซึ่งถือว่าเป็นการไม่สุภาพอย่างมาก
15. ไม่ถามคำถามส่วนตัว เช่น หนักเท่าไหร่ มีเงินเก็บเท่าไหร่ หรือ ทำไมยังไม่แต่งงาน (ซึ่งคนไทยชอบถามกันมากๆ)
16. ไม่พูดคุยในขณะที่มีอาหารอยู่เต็มปาก
17. ไม่เรอเสียงดังหลังจากกินหรือดื่ม แต่ถ้าอดไม่ได้ จริงๆ ก็ให้ปิดปากและเอ่ยว่า Excuse me
18. ไม่ถุยน้ำลายบนถนน ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่หยาบคายมากๆ
19. ไม่ควรผายลมในที่สาธารณะ ถ้าอดไม่ได้จริงๆ ให้พูดว่า Pardon me หรือ Excuse me
20. ไม่ควรสั่งน้ำมูกในที่สาธารณะ หรือถ้าจำเป็นควรใช้ผ้าเช็ดหน้า

Hit play to listen to the reading.





Divali

7 11 2010

Last Friday Thailand’s Hindu community celebrated Divali. Pahurat (or Bangkok’s Little India) was ablaze with lights to welcome the goddess Laksmi to bring wealth and good fortune.  There appears to be some parallels between Divali and Loy Krathong (on which more later this month) and so I felt a little digging  to learn a little more about a key celebration of one of Thailand’s significant minority communities was in order.

Learningpune.com is a website for the exchange of information for Thais interested in learning in India, and I found the following article about Divali there.

Work through the key vocabulary then give the reading a go.  Rollover translations as usual. Visit the original article here for more about Divali in Thai.

Key Vocab & Tricky Words
เทศกาล tâyt-sà-gaan: festival
ชาว chaao: people
หมุนเวียนมา mun wian maa: to come around
ความรื่นเริง kwaam reun-rerng: merriment
การเปลี่ยนแปลง gaan bplìan bplaeng: changing
พระลักษมี pra lák-sà-mee: (the goddess) Laksmi
เทวี tay-wee: queen/princess
มั่งคั่ง mâng-kâng: wealth
เยือน yeuan: visit
เทียน tian: candle
ตะเกียง dtà-giang: oil lamp
พระนาง pra naang: princess
ของขวัญ kŏng kwăn: gifts
ตระเตรียม dtrà-dtriam: prepare
ฉลอง chà-lŏng: celebrate
ราชการ râat-chá-gaan: civil service
ตกแต่ง dtòk dtàeng: decorate
ประดับประดา bprà-dàp bprà-daa: adorn
ดินเผา din păo: baked clay
โดยเฉพาะ doi chà-pór: especially
แม่น้ำคงคา mâe náam kong-kaa: River Ganges
รอด rôt: survive
นิมิตหมาย ní-mít măai: omen

The Reading
“ดิวาลี” เทศกาลแห่งแสงไฟ และปีใหม่ของชาวฮินดูมุนเวียนมาอีกครั้งแล้ว ในปีนี้ตรงกับวันที่ 5 พฤศจิกายน 2010 เทศกาลนี้สำคัญมากและเป็นหนึ่งในเทศกาลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดสำหรับชาวฮินดู เรียกว่าเป็นมหาเทศกาลเลยก็ว่าได้ เพราะเป็นเทศกาลแห่งครอบครัว ความรื่นเริง และการเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งใหม่ๆ ที่ดีในชีวิต

ในช่วงเวลานี้ชาวฮินดูจะทำความสะอาดบ้านเรือน เปิดหน้าต่างเพื่อต้อนรับ “พระลักษมี” เทวีแห่งความมั่งคั่ง ให้เข้ามาเยือนบ้านเรือนของตน การจุดเทียนและตะเกียง เป็นการต้อนรับและบอกทางแก่พระนาง มีการแลกเปลี่ยนของขวัญและตระเตรียมอาหารมาเลี้ยงฉลองกัน

ทุกบ้านเรือน ร้านค้า สถานที่ราชการต่างๆ จะตกแต่งประดับประดาด้วยแสงไฟตระการตา ทั้งที่มาจาก หลอดไฟ โคมไฟ และตะเกียงน้ำมันดินเผา ที่เรียกว่า “ดิวา” ที่วางตั้งเป็นแถวริมหน้าต่าง ประตู และวางไว้รอบนอกบริเวณบ้าน ในอินเดียยังนิยมจุดดิวา ให้ลอยเป็นสายเหมือนกระทงสายในแม่น้ำต่างๆ โดยเฉพาะแม่น้ำคงคา ถ้าตะเกียงนั้นลอยไปได้ตลอดรอดฝั่งก็ถือเป็นนิมิตหมายที่ดี





The Six Seasons

2 11 2010

Maybe it’s because I’m British and we like nothing more than to talk about the weather.  Or maybe it’s because the weather in Thailand has been really giving us something to talk about in the past few weeks, but the seamless transition from epic flooding to a positively chilly cold snap has inspired this post on the six seasons.

Yes, Thai Wikipedia tells us of the three seasons of tropical regions, then throws in two of the main seasons in temperate regions  for good measure, plus a kind of mega-season that covers two of the three tropical ones.

The reading is nice and straightforward (put it this way, I don’t think a meteorologist wrote this Wiki!) but serves as a good reminder of some common vocab and introduces one or two more technical terms.

Key Vocab and Tricky Words
ฤดู réu-doo: season
ฤดูหนาว réu-doo năao: cold season
ฤดูฝน réu-doo fŏn: rainy season
ฤดูร้อน réu-doo rón: hot season
ดูแล้ง réu-doo láeng: dry season
ฤดูใบไม้ผลิ réu-doo bai mái plì: Spring (lit. season of the budding leaves)
ฤดูใบไม้ร่วง réu-doo bai mái rûang: Autumn (lit. season of the falling leaves)
อากาศ aa-gàat: weather/climate
เขต kàyt: region
อบอุ่น òp ùn: warm
ซีกโลก sêek lôhk: hemisphere
โดยทั่วไป doi tûa bpai: generally
ระยะเวลา rá-yá way-laa: time period
ช่วง chûang: time period
ประกอบ bprà-gòp: consist
ในขณะ nai kà-nà: while

What Wikipedia has to say about the seasons

ฤดูหนาว เป็นฤดูที่มีอากาศหนาวที่สุดในปี ฤดูหนาวในเขตอบอุ่นและเขตหนาวของซีกโลกเหนือ โดยทั่วไปจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 22 ธันวาคม ถึง 20 มีนาคม ของทุกปี

ฤดูร้อน เป็นฤดูที่มีอากาศร้อนที่สุดในปี ฤดูร้อนในเขตอบอุ่นและเขตหนาวของซีกโลกเหนือ โดยทั่วไปจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 21 มิถุนายน ถึง 21 กันยายน ของทุกปี

ฤดูฝน เป็นฤดูในเขตร้อน เป็นช่วงที่มีฝนตกมากที่สุดในปี ในประเทศไทยจะอยู่ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม

ฤดูแล้ง เป็นฤดูในเขตร้อน เป็นช่วงที่มีอากาศแห้งและมีฝนตกน้อย ฤดูแล้งประกอบด้วยฤดูร้อนและฤดูหนาว

ฤดูใบไม้ผลิ เป็นฤดูในเขตอบอุ่นและเขตหนาว โดยทั่วไป ฤดูใบไม้ผลิในซีกโลกเหนือจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 21 มีนาคม ถึง  มิถุนายน 20 ของทุกปี ในขณะที่ในซีกโลกใต้ จะมีระยะเวลาตั้งแต่เดือนกันยายน ถึง เดือนพฤศจิกายน

ฤดูใบไม้ร่วง เป็นฤดูในเขตอบอุ่นและเขตหนาว โดยทั่วไป ฤดูใบไม้ร่วงในซีกโลกเหนือจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 22 กันยายน ถึง 21 ธันวาคม ของทุกปี